(0)
+700+ พระกริ่งพระเจ้าเก้าตื้อ วัดชิโนรส 12 พิธีใหญ่ หลวงพ่อพรหม หลวงปู่โต๊ะ หลวงพ่อกวย หลวงปู่สุข วัดโพธิ์ทรายทองร่วมปลุกเสก +สภาพสวย+








รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่อง+700+ พระกริ่งพระเจ้าเก้าตื้อ วัดชิโนรส 12 พิธีใหญ่ หลวงพ่อพรหม หลวงปู่โต๊ะ หลวงพ่อกวย หลวงปู่สุข วัดโพธิ์ทรายทองร่วมปลุกเสก +สภาพสวย+
รายละเอียดl6ดยอดพิธีในวันมหาสงกรานต์ ปี2512
มีพระเกจิดังๆ ร่วมงานหลายรูป อาทิเช่น...
1. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
2. หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค
3. หลวงพ่อสุข วัดโพธิ์ทรายทอง (วัตถุมงคลที่เป็นรูปเหมือนท่านออกที่วัดชิโนรส เล่นหากันแพงมาก)
4. หลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
5. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
6.หลวงพ่อเจริญ วัดทองนพคุณ (ท่านเป็นน้องหลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ)
7.หลวงพ่อมิ่ง วัดกก
8.หลวงพ่อคอน วัดชัยพฤกษ์มาลา เป็นต้น
กริ่งสภาพสวยไม่ผ่านการใช้ กริ่งดังดี เคาะเดียวครับ

**กริ่งวัดชิโนรส ด้านหลังต้องมีอักษรย่อ "วชร."นะครับ
ถ้าไม่มีอักษรย่อนี้จะเป็นของวัดอื่น
หลายท่านนำมาตั้งประมูลเป็นวัดชิโนรสเสียหมด ไม่เก๊แต่ก็ผิดวัดครับ**



พระเจ้าเก้าตื้อ เป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดสวนดอก หรือวัดบุบผาราม ตำบลสุเทพอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ วัดสำคัญของนครเชียงใหม่ ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีพระพุทธลักษณะงดงามที่สุดในล้านนา[ต้องการอ้างอิง]

คำว่า ตื้อ เป็นหน่วยวัดน้ำหนักโลหะของล้านนาในสมัยโบราณ ซึ่ง 1 ตื้อ เท่ากับ 1,000 กิโลกรัม (บางตำรากล่าวว่า 1 ตื้อ หนักเท่ากับ 1,200 กิโลกรัม) พระเจ้าเก้าตื้อ หมายถึงพระพุทธรูปที่หล่อด้วยโลหะหนัก 9,000 กิโลกรัม หรือ 9 ตัน

ในพงศาวดารโยนกกล่าวว่า พระเจ้าเมืองแก้ว หรือพระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิราช หรืออีกพระนามหนึ่งคือ พระติลกปนัดดาธิราชกษัตริย์รัชกาลที่ 14 แห่งราชวงศ์มังราย ที่ครองอาณาจักรล้านนา ได้โปรดให้สร้างพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น เพื่อเป็นประธานในวิหารพระสิงห์ โดยได้เริ่มทำการหล่อในวันพฤหัสบดี เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีชวด ฉอศก จุลศักราช 866 (พ.ศ. 2047) เมื่อหล่อได้ทำการตกแต่ง จนถึงวันพฤหัสบดี เดือน 5 ขึ้น 5 ค่ำ ปีฉลู สัปตศก จุลศักราช 467 (พุทธศักราช 2048) จึงสำเร็จบริบูรณ์ องค์พระมีที่ต่อ 8 แห่ง อย่างไรก็ตามเนื่องจากองค์พระมีน้ำหนักมากเมื่อหล่อเสร็จไม้สามารถชะลอเข้า เมืองได้ พระองค์จึงโปรดฯ ให้สร้างวิหารเป็นที่ประดิษฐาน ณ บริเวณใกล้ๆ กับพระอารามวัดบุปผารามหรือวัดสวนดอก ครั้นถึงวันพุธเดือน 5 ขึ้น 4 ค่ำ ปีมะเส็ง เอกศก จุลศักราช 870 (พุทธศักราช 2052) จึงได้มีการชักพระพุทธปฏิมากรองค์นี้ เข้าประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถในวัดบุบผาราม
ราคาเปิดประมูล650 บาท
ราคาปัจจุบัน700 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ50 บาท
วันเปิดประมูล - 02 มิ.ย. 2558 - 09:49:23 น.
วันปิดประมูล - 03 มิ.ย. 2558 - 10:55:20 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลคอปแมน (44K)


(0)
 
ราคาปัจจุบัน :     700 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     50 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    bundit99 (71)

 

Copyright ©G-PRA.COM