ร่วมเสนอความคิดเห็น

หัวข้อกระทู้ : ปฐมบท..ย้อนรอย..พิสูจน์..เหรียญ..เจริญพรเต็มองค์..หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่...ตอนที่3 ( ตอน..บล๊อกตัวหน

(N)
หลังจากที่ได้ออกบทความในเรื่องราวของ หลวงพ่อคูณ รุ่นเจริญพรเต็มองค์มาแล้ว 2 ตอน ก็ได้รับทั้งเมลล์และข้อเสนอแนะต่างๆที่เป็นประโยชน์กลับมา และเพื่อนๆบางคนก็ได้ร่วมพิสูจน์ไปด้วยกันด้วย ก็ต้องขอขอบคุณมา ณ. ที่นี้ ด้วยครับ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ต้องขอออกตัวก่อนว่า ที่พิสูจน์ รุ่นนี้ ก็พิสูจน์ ด้วยตัวเอง โดยไม่ได้รู้จักกับคณะผู้สร้าง หรือ คณะ อื่นๆใด เพียงเพื่อต้องการความชัดเจนให้กับตัวเอง เพราะว่ารูปแบบของ หลวงพ่อคูณ รุ่นนี้ ไม่เป็น สอง รองจากรุ่นไหนๆของ หลวงพ่อ....ถ้า ได้เช่า..มา ลองส่องดูสัก องค์ บอกได้เลย ว่าจะต้องติดใจครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:48 น.]



โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:49 น.] #1803960 (1/43)


(N)
จากจุดเริ่มต้น

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:50 น.] #1803962 (2/43)


(N)
ตอนนี้ จะพูดถึงตัวหนังสือ โค้ง ครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:50 น.] #1803963 (3/43)
มีคำถามๆกลับมาที่ผม หลังจากที่ได้บอกเพื่อนๆ สมาชิก ในตอนที่แล้วว่า ในบล็อกของตัวหนังสือตรง ยังแยกออกได้ 2 บล็อกคือ

1. บล็อก คูณ มีขีด กับ
2. บล็อก คูณไม่มีขีด

ก็มีคำถามๆกลับมาที่ผม ว่าทำไมถึงเรียกว่า บล็อก คูณมีขีด ไม่เรียก เป้นอย่างอื่น ว่า บล็อก ขอบมีขีด หรือ อื่นๆ ซึ่งก็ต้องอธิบายเหตุผลส่วนตัวว่า สาเหตุที่เรียกว่า คูณ มีขีด เพราะว่า

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:51 น.] #1803964 (4/43)


(N)
1. ขีดที่เกิดขึ้นนั้นได้เกิดขึ้นมาจากคำว่า คูณและทะลุผ่านคำว่า ปริ ไปชนกับฐานสิงห์หรือฐานนั่ง ก็สรุปได้ว่า ขีดได้เกิดมาจากคำว่าคูณ และ
2. เหตุผลที่สำคัญอีกข้อหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไปนานวันเข้า เพื่อเป็นการให้เกียรติ กับเหรียญของ หลวงพ่อ ที่มีการจัดสร้าง คำว่า คูณ มีขีด ทุกคนก็จะเข้าใจได้โดยทันทีว่า เป็นพระของ หลวงพ่อคูณ และคำว่าคูณ นั้นจะต้องมีขีดเป็นจุดสังเกต ครับ นี้คือที่มาของคำนิยามของผมว่า คูณ มีขีด แต่ถ้าท่านใดคิดแตกต่างก็ไม่เป็นไรนะครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:52 น.] #1803965 (5/43)


(N)
ที่นี้ในบทนี้ เราจะมาเริ่มกันอีก 1 บล็อกคือ บล็อกตัวหนังสือโค้ง มาดูประวัติของบล็อกตัวหนังสือโค้งนะครับ เนื่องจากตัวหนังสือตรงคำว่า คูณ ปริสุทโธ ชิดฐานมากเกินไป จึงจัดทำบล็อกขึ้นมาใหม่เป็นตัวหนังสือโค้ง ดูภาพประกอบ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:52 น.] #1803968 (6/43)
เรามาดูข้อมูลกันอีกหน่อยนะครับจาก

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:53 น.] #1803969 (7/43)


(N)
1. รูปที่ลงในหนังสือไทยพระเล่มล่าสุด

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:53 น.] #1803970 (8/43)


(N)
2. ใบโปร์ชัวร์ยุคเก่าๆ ก่อนหน้านี้

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:54 น.] #1803971 (9/43)


(N)
3. จากการเขียนรายละเอียดการจัดสร้างของ อ.ทองดี ที่ระบุว่าเป็นคณะที่จัดสร้างรุ่นเจริญพร บนทั้งครึ่งองค์และเต็มองค์ ครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:54 น.] #1803972 (10/43)
สรุปได้ว่า ในการจัดสร้างบล็อกตัวหนังสือโค้งนั้น เหรียญในยุคแรกๆ สีของเหรียญจะออกสีน้ำหมาก ลองดูที่รูปประกอบครับ เพราะฉะนั้นการจะเดินทางหารายละเอียดต้องเริ่มจากจุดนี้ก่อนครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:55 น.] #1803973 (11/43)


(N)
สีผิวเหรียญยุคแรกๆ ออกเป็นสีผิวแบบน้ำหมาก

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:56 น.] #1803974 (12/43)


(N)
ลองเปรียบเทียบกันระหว่างเหรียญเจริญพรบนของ หลวงปู่ทิม วัดละหานไร่ ที่ผิวเหรียญออกโทนผิวมะขามเปียก สีผิวเหรียญหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ ที่ผิวออกโทนผิวสีน้ำหมาก

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:56 น.] #1803975 (13/43)
ที่นี้เรามาศึกษาจุดสำคัญต่างๆ จากบล็อกตัวหนังสือตรงที่ผิวออกแดงๆ ในยุคแรกๆ เพื่อที่พิสูจน์ด้านอื่นๆต่อไปครับ ซึ่งจากที่ได้ดูเหรียญที่มีผิวที่ออกโทนน้ำหมาก มาจุดสังเกตไม่กี่จุดที่สามารถชี้ชัดได้เลยครับ เรามาเริ่มกันเลยนะครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:57 น.] #1803976 (14/43)


(N)
1. ด้านหน้าเหรียญ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:58 น.] #1803977 (15/43)


(N)
2. ด้านหลังเหรียญ มีจุดสำคัญที่ด้านล่างเลข 2 จะมีเส้นขีดคมๆ วิ่งชนขอบด้านล่าง ( จุดนี้สำคัญ )

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:58 น.] #1803978 (16/43)


(N)
หลายๆ เหรียญเปรียบเทียบตำแหน่งดังกล่าว

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 10:59 น.] #1803980 (17/43)
3. ด้านหลังเหรียญเช่นกันนะครับ ตรงรอยตัดขอบที่บริเวณมุมห่วงเหรียญ ประมาณเกือบ 12 นาฬิกา ตรงมุมจะมีเนื้อเกินหรือเป็นติ่งติดอยู่ที่มุมด้านซ้ายไม่มากก็น้อย เกือบทุกเหรียญครับ ลองดูรูปประกอบนะครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 11:00 น.] #1803981 (18/43)


(N)
4. จุดสำคัญอีกจุดครับ มาดูกันที่ขอบ เหรียญในยุคแรกๆนะครับ จุดนี้ก็ถือว่าสำคัญนะครับ ตรงรอยตัดของเหรียญตรง 6 นาฬิกาครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 11:00 น.] #1803984 (19/43)


(N)
มองอีกมุมครับ

โดยคุณ bangbai (3.9K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 11:01 น.] #1803986 (20/43)
สรุปใน ตอนที่ 3 นี้ว่า บล็อกตัวหนังสือโค้งยุคแรก สีผิวเหรียญจะออกโทนสีน้ำหมาก และด้านหลังรวมถึงรอยตัด เป็นตามที่ได้อธิบายไปแล้ว ในตอนต่อไป เรายังคงต้องพิสูจน์ ตัวหนังสือจากการได้เห็นเหรียญจริงกันใน ตอนต่อไป...

โดยคุณ ชานนท์53 (6K)(5)   [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 11:47 น.] #1804045 (21/43)


(N)

โดยคุณ koboonapi (1.5K)(1)   [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 11:57 น.] #1804065 (22/43)
สุดยอดครับ

โดยคุณ day_ce30 (49)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 12:22 น.] #1804110 (23/43)
น่าติดตามมากครับ สุดยอด

โดยคุณ ธีตลาดพลู (1.2K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 12:38 น.] #1804138 (24/43)


(N)


แบบนี้ใช้ได้ป่าวครับ

https://www.g-pra.com/auction/view.php?aid=6616977

โดยคุณ RONADO (10.1K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 12:51 น.] #1804156 (25/43)
สุดยอดครับ

โดยคุณ โจบูรพาเหล็กกล้า (1.7K)(1)   [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 13:05 น.] #1804183 (26/43)
สุดยอดครับ

โดยคุณ Mc_Jan (1.5K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 13:06 น.] #1804185 (27/43)
ดีครับ

โดยคุณ ฟ้าคะนอง (211)(1)   [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 14:02 น.] #1804276 (28/43)

โดยคุณ โจบูรพาเหล็กกล้า (1.7K)(1)   [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 14:31 น.] #1804309 (29/43)
ผมมีอยู่เหรียญ แต่รอยขีดไม่อยู่แถวเลขสองครับ ออกจางๆแถวๆล่างเลขห้าครับ ส่วนรอยตัดตามของอาจารย์ bangbai เป๊ะครับ

โดยคุณ paonai (572)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 14:53 น.] #1804338 (30/43)


(N)



โดยคุณ หมี่เมืองจันท์ (239)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 16:26 น.] #1804424 (31/43)
สุดยอดเช่นเคยครับกับข้อมูลเชิงลึก.....ต้องขอขอบคุณอาจารย์ bangbaiอีกครั้งที่แบ่งปันกันครับ

โดยคุณ vichol2551 (1.8K)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 19:17 น.] #1804653 (32/43)
สุดยอด ครับ

โดยคุณ ข้าน้อยขอคารวะ (228)  [ศ. 19 ส.ค. 2554 - 21:48 น.] #1805050 (33/43)

โดยคุณ พลบางซื่อ (398)  [ส. 20 ส.ค. 2554 - 01:21 น.] #1805344 (34/43)

ขอจดจำเอาไว้ขอบคุณครับ

โดยคุณ sestha (1.1K)  [ส. 20 ส.ค. 2554 - 01:39 น.] #1805350 (35/43)
เยี่ยมยอด

โดยคุณ bestinter (1.2K)  [ส. 20 ส.ค. 2554 - 09:04 น.] #1805579 (36/43)


(N)
ยอดเยี่ยมมากๆครับ พี่ bangbai

ขอขอบคุณที่สละเวลารวมรวมข้อมูลที่มีประโยชน์มากๆของรุ่นเจริญพรบนนั่งเต็มองค์

ซึ่งปัจจุบันกำลังสับสนกันมากๆในรุ่นนี้

โดยคุณ papze (1.7K)(1)   [อา. 21 ส.ค. 2554 - 01:53 น.] #1807456 (37/43)
เป็นข้อมูลที่สุดยอดคับพี่ ขอบคุณคับสำหรับข้อมูลที่ดีดี

โดยคุณ a-korat (68)  [อ. 23 ส.ค. 2554 - 00:25 น.] #1811416 (38/43)
สุดยอดครับ

โดยคุณ thetuk (140)  [อ. 23 ส.ค. 2554 - 18:15 น.] #1812378 (39/43)
สุดยอดครับ

โดยคุณ Naibangdee (781)  [พฤ. 25 ส.ค. 2554 - 18:29 น.] #1815085 (40/43)
สุดยอดครับ

โดยคุณ ห้าร้อย (681)  [ส. 24 ธ.ค. 2554 - 20:21 น.] #2002473 (41/43)

โดยคุณ jaturong220 (1.5K)  [อ. 24 ม.ค. 2555 - 15:53 น.] #2052695 (42/43)
ได้ความรู้แยะครับ สุดยอดครับ

โดยคุณ พิจิกา56 (709)  [อ. 31 ธ.ค. 2556 - 13:21 น.] #3146088 (43/43)
ข้อมูลแน่นๆสุดๆไปเลยครับ

!!!! กรุณา Login ก่อนจึงจะเสนอความคิดเห็นได้ !!!


Copyright ©G-PRA.COM