(0)
Hot........วัดใจสุดๆๆๆๆ.....พระพิฆเนศ เทพแห่งศิลปวิทยาการ หน้าตัก 1/2 นิ้ว สูง 1/2 นิ้ว เนื้อนวะ ตอกโค้ดที่ฐาน กรมศิลปากร ปี40 องค์นี้ห้อยคอได้ค่ะ






รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่องHot........วัดใจสุดๆๆๆๆ.....พระพิฆเนศ เทพแห่งศิลปวิทยาการ หน้าตัก 1/2 นิ้ว สูง 1/2 นิ้ว เนื้อนวะ ตอกโค้ดที่ฐาน กรมศิลปากร ปี40 องค์นี้ห้อยคอได้ค่ะ
รายละเอียดเนื้อนวะ สวยค่ะ

องค์นี้ห้อยคอได้ค่ะ

พระพิฆเนศวร์

พระพิฆเนศวร์ หรือ พระคเณศ เทพเจ้าซึ่งมีเศียรเป็นช้าง มีกำเนิดจากตำนานเทพพื้นเมืองอินเดีย ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเทพเจ้าองค์สำคัญในศาสนาฮินดูและได้แผ่ขยายความเชื่อถือศรัทธามาสู่แผ่นดินสยามตั้งแต่ครั้งโบราณ จึงปรากฏรูปประติมากรรมพระพิฆเนศวร์ ณ โบราณสถาน และสักการะสถานหลายแห่ง หลายอายุสมัยทั่วประเทศ

แนวคิดหลักประการสำคัญกล่าวว่า พระพิฆเนศวร์เป็นเทพผู้ประทานความสำเร็จ เป็นเทพที่สามารถขจัดอุปสรรคกีดขวางทั้งปวงได้ บุคคลผู้บูชาจะเกิดความสำเร็จไม่ว่าจะเป็นด้านกิจการงานใด ๆ จึงยกย่องว่าพระพิฆเนศวร์ เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปวิทยาการ เทพเจ้าแห่งความฉลาด รอบรู้ เทพเจ้าแห่งความสำเร็จ เทพประจำเรือน เทพผู้ประทานความอุดมสมบูรณ์ เทพผู้คุ้มครองป้องกันขัดขวงสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง หรือกล่าวได้ว่าเป็น ‘ เทพเจ้าแห่งจักรวาล’ ดังนั้น เมื่อจะประกอบพิธีกรรมใด ๆ ก็มักจะเป็นเทพที่ได้รับการบูชาก่อนการบูชาเทพองค์อื่น ๆ เพื่อความเป็นศิริมงคลให้พิธีกรรมและงานดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีโดยปราศจากอุปสรรค

พิธีกรรมและวันสำคัญบูชาพระพิฆเนศวร์ที่ยึดถือกันมาคือ

ประจำปี วันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๙ และวันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๑๐
ส่วนในแต่ละเดือน บูชาวันขึ้น ๔ ค่ำ และแรม ๔ ค่ำ ของแต่ละเดือน
ของที่ถวายเช่น ขนมโมทกะ ขนมหวาน ผลไม้ นมสด หญ้าแพรก เป็นต้น
สำหรับบทสรรเสริญพระพิฆเนศวร์ มีหลายบท คาถาบูชาจำง่ายสั้น ๆ ดังนี้

“ โอมศรีคเณศายะนะมาฮา ”
ราคาเปิดประมูล240 บาท
ราคาปัจจุบัน260 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ10 บาท
วันเปิดประมูล - 29 ม.ค. 2551 - 18:26:37 น.
วันปิดประมูล - 30 ม.ค. 2551 - 20:14:32 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลcamera (113)


(0)
 
ราคาปัจจุบัน :     260 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     10 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    nauts (1.9K)(1)

 

Copyright ©G-PRA.COM