(0)
++พระในตำนานครับ พระสมเด็จฝักไม้ขาว กรุบางระกำ กรุเก่า จ.พิษณุโลก ตัวจริง ดูง่ายมากๆ เลยครับ + ผลตรวจจาก G-pra แท้แน่นอนครับ ++








รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่อง++พระในตำนานครับ พระสมเด็จฝักไม้ขาว กรุบางระกำ กรุเก่า จ.พิษณุโลก ตัวจริง ดูง่ายมากๆ เลยครับ + ผลตรวจจาก G-pra แท้แน่นอนครับ ++
รายละเอียดพระฝักไม้ขาวกรุบางระกำ จ.พิษณุโลก ปัจุบันนั้นเป็นพระที่พบเห็นยากมาก เพราะพระเนื้อฝักไม้ขาวนั้นชำรุดแต่เดิมจากในกรุก็เป็นจำนวนมากเพราะเกิดน้ำท่วม ทำให้พระนั้นชำรุดค่อนข้างมาก ราคาในองค์สวยๆ เดิมๆ ในปัจจุบันต้องมีหลักพันแก่ๆ องค์นี้หากไม่บิ่นก็ถือว่าสวยแล้วครับ พระมีการลงรักเก่าด้วยนะครับ ที่เห็นดำๆ นั้นเป็นรักที่เจ้าของเก่าเขาลงไว้ทีหลังนะครับไม่ใช้คราบกรุ แต่ด้วยศักศรีพระหายากใครอยากได้ไว้บูชาก็ต้องลุยกันดูครับ รายการนี้เคยลงประมูลมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่เนื่องจากมีสมาชิกโหวดว่าเป็นพระไม่แท้ ด้วยความที่ดูเป็นหรือไม่กระผมมิทราบ แต่ทางกระผมจึงทำการส่งตรวจสอบเพื่อความชัดเจน ผลการตรวจก็ออกมาว่าเป็นพระแท้ แต่ออกบัตรไม่ได้เพราะทางสำนักงานยังไม่ได้รับออกบัตรให้กับพระเครื่องรุ่นนี้พิมพ์นี้ รายการนี้รับประกันความแท้ให้ตลอดชีวิครับ 087-7410030 สุรเดชครับ.
ราคาเปิดประมูล950 บาท
ราคาปัจจุบัน2,050 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ50 บาท
วันเปิดประมูล - 22 ธ.ค. 2551 - 14:53:42 น.
วันปิดประมูล - 23 ธ.ค. 2551 - 18:52:00 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลณิชนันทน์ (4K)


(0)
ข้อมูลเพิ่มเติม 1 - 22 ธ.ค. 2551 - 14:54:36 น.
.


รักแห้งเก่าครับ.


ข้อมูลเพิ่มเติม 2 - 22 ธ.ค. 2551 - 14:55:35 น.
.


ข้อมูลตามใบแจ้งผล ลำดับที่ 5 ครับ.


ข้อมูลเพิ่มเติม 3 - 22 ธ.ค. 2551 - 14:57:25 น.

กำเนิดของพระกรุบางระกำ ในยุคสมัยที่ พระครูพุทธิสุนทร (หรุ่น ติสฺสโร) เป็นเจ้าอาวาส วัดสุนทรประดิษฐ์ พระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ พระอาจารย์ถีร์ ซึ่งจำพรรษาอยู่ที่วัดลครทำ ฝั่งธนบุรี ได้ล่องเรือตามลำคลองมายังตลาด บางระกำ พร้อมกับพระพิมพ์บรรจุในไห จุดมุ่งหมายเพื่อนำไปมอบให้หลวงพ่อขำ วัดฝักไม้ดำ (โพธิ์เตี้ย) อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร แต่แล้วด้วยมีอุปสรรคในการคมนาคม จึงแวะที่ตลาดบางระกำ แล้วฝากพระในไหไว้ที่บ้าน นายอู่ใช้ แซ่ลิ้ม คหบดีในตลาดบางระกำ

เมื่อวันเวลาได้ผ่านไปแรมปี ต่อมานายอู่ใช้ได้ขายบ้านหลังดังกล่าวนั้นให้กับนายละม่อม และนางกิมเอ็ง เนตรแก้ว โดยไม่ได้มีการเคลื่อนย้ายพระในไหแต่อย่างใด คงไว้ดังเดิม เจ้าของบ้านคนใหม่พบเห็นเข้า จึงนำพระไปไว้ในโบสถ์วัดบางระกำ โดยวางไว้ด้านหลัง หลวงพ่อนฤมิต พระประธานในอุโบสถ อีกทางหนึ่งก็ว่า นายอู่ใช้ เป็นผู้เคลื่อนย้ายพระในไหจากบ้านมายังโบสถ์ดังกล่าวด้วยตนเอง

ต่อมาในปี พ.ศ.2485 อันเป็นปีที่ประเทศไทยตกอยู่ในภาวะสงครามที่เรียกว่า มหาเอเชียบูรพา ในช่วงระยะเวลาปีดังกล่าวนี้ได้เกิดอุทกภัยน้ำท่วมใหญ่หลายจังหวัด รวมทั้งจังหวัดพิษณุโลกด้วย วัดสุนทรประดิษฐ์ ซึ่งอยู่ในที่ลุ่มและริมฝั่งแม่น้ำยม ก็ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยดังกล่าวนี้ด้วย น้ำได้ไหลบ่าเข้าไปในโบสถ์ พระพิมพ์ที่ซุกซ่อนอยู่หลังพระประธานจมอยู่ในน้ำเป็นเวลานาน เมื่อน้ำลดจึงมีคราบตะกอนดินติดอยู่ที่ผิวพระ จนบางท่านเข้าใจว่าเป็นพระกรุ หรือบางท่านเข้าใจถูกแล้วแต่ด้วยธรรมชาติขององค์พระเฉกเช่นเดียวกับพระกรุจึงเรียกเช่นนั้นต่อ ๆ กันมา

วัดบางระกำ หรือ วัดสุนทรประดิษฐ์ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก เป็นที่รู้จักของนักนิยมสะสมพระเครื่อง โดยเฉพาะนักเล่นรุ่นเก่า เพราะเป็นสถานที่ซึ่งพบ พระพิมพ์สิงห์ป้อนเหยื่อ และพระฝักไม้ดำ – ฝักไม้ขาว

กำเนิดของพระกรุบางระกำ ในยุคสมัยที่ พระครูพุทธิสุนทร (หรุ่น ติสฺสโร) เป็นเจ้าอาวาส วัดสุนทรประดิษฐ์ พระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ พระอาจารย์ถีร์ ซึ่งจำพรรษาอยู่ที่วัดลครทำ ฝั่งธนบุรี ได้ล่องเรือตามลำคลองมายังตลาด บางระกำ พร้อมกับพระพิมพ์บรรจุในไห จุดมุ่งหมายเพื่อนำไปมอบให้หลวงพ่อขำ วัดฝักไม้ดำ (โพธิ์เตี้ย) อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร แต่แล้วด้วยมีอุปสรรคในการคมนาคม จึงแวะที่ตลาดบางระกำ แล้วฝากพระในไหไว้ที่บ้าน นายอู่ใช้ แซ่ลิ้ม คหบดีในตลาดบางระกำ

เมื่อวันเวลาได้ผ่านไปแรมปี ต่อมานายอู่ใช้ได้ขายบ้านหลังดังกล่าวนั้นให้กับนายละม่อม และนางกิมเอ็ง เนตรแก้ว โดยไม่ได้มีการเคลื่อนย้ายพระในไหแต่อย่างใด คงไว้ดังเดิม เจ้าของบ้านคนใหม่พบเห็นเข้า จึงนำพระไปไว้ในโบสถ์วัดบางระกำ โดยวางไว้ด้านหลัง หลวงพ่อนฤมิต พระประธานในอุโบสถ อีกทางหนึ่งก็ว่า นายอู่ใช้ เป็นผู้เคลื่อนย้ายพระในไหจากบ้านมายังโบสถ์ดังกล่าวด้วยตนเอง

ต่อมาในปี พ.ศ.2485 อันเป็นปีที่ประเทศไทยตกอยู่ในภาวะสงครามที่เรียกว่า มหาเอเชียบูรพา ในช่วงระยะเวลาปีดังกล่าวนี้ได้เกิดอุทกภัยน้ำท่วมใหญ่หลายจังหวัด รวมทั้งจังหวัดพิษณุโลกด้วย วัดสุนทรประดิษฐ์ ซึ่งอยู่ในที่ลุ่มและริมฝั่งแม่น้ำยม ก็ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยดังกล่าวนี้ด้วย น้ำได้ไหลบ่าเข้าไปในโบสถ์ พระพิมพ์ที่ซุกซ่อนอยู่หลังพระประธานจมอยู่ในน้ำเป็นเวลานาน เมื่อน้ำลดจึงมีคราบตะกอนดินติดอยู่ที่ผิวพระ จนบางท่านเข้าใจว่าเป็นพระกรุ หรือบางท่านเข้าใจถูกแล้วแต่ด้วยธรรมชาติขององค์พระเฉกเช่นเดียวกับพระกรุจึงเรียกเช่นนั้นต่อ ๆ กันมา

วัดบางระกำ หรือ วัดสุนทรประดิษฐ์ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก เป็นที่รู้จักของนักนิยมสะสมพระเครื่อง โดยเฉพาะนักเล่นรุ่นเก่า เพราะเป็นสถานที่ซึ่งพบ พระพิมพ์สิงห์ป้อนเหยื่อ และพระฝักไม้ดำ – ฝักไม้ขาว

กำเนิดของพระกรุบางระกำ ในยุคสมัยที่ พระครูพุทธิสุนทร (หรุ่น ติสฺสโร) เป็นเจ้าอาวาส วัดสุนทรประดิษฐ์ พระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ พระอาจารย์ถีร์ ซึ่งจำพรรษาอยู่ที่วัดลครทำ ฝั่งธนบุรี ได้ล่องเรือตามลำคลองมายังตลาด บางระกำ พร้อมกับพระพิมพ์บรรจุในไห จุดมุ่งหมายเพื่อนำไปมอบให้หลวงพ่อขำ วัดฝักไม้ดำ (โพธิ์เตี้ย) อ.พรานกระต่าย จ.กำแพงเพชร แต่แล้วด้วยมีอุปสรรคในการคมนาคม จึงแวะที่ตลาดบางระกำ แล้วฝากพระในไหไว้ที่บ้าน นายอู่ใช้ แซ่ลิ้ม คหบดีในตลาดบางระกำ

เมื่อวันเวลาได้ผ่านไปแรมปี ต่อมานายอู่ใช้ได้ขายบ้านหลังดังกล่าวนั้นให้กับนายละม่อม และนางกิมเอ็ง เนตรแก้ว โดยไม่ได้มีการเคลื่อนย้ายพระในไหแต่อย่างใด คงไว้ดังเดิม เจ้าของบ้านคนใหม่พบเห็นเข้า จึงนำพระไปไว้ในโบสถ์วัดบางระกำ โดยวางไว้ด้านหลัง หลวงพ่อนฤมิต พระประธานในอุโบสถ อีกทางหนึ่งก็ว่า นายอู่ใช้ เป็นผู้เคลื่อนย้ายพระในไหจากบ้านมายังโบสถ์ดังกล่าวด้วยตนเอง

ต่อมาในปี พ.ศ.2485 อันเป็นปีที่ประเทศไทยตกอยู่ในภาวะสงครามที่เรียกว่า มหาเอเชียบูรพา ในช่วงระยะเวลาปีดังกล่าวนี้ได้เกิดอุทกภัยน้ำท่วมใหญ่หลายจังหวัด รวมทั้งจังหวัดพิษณุโลกด้วย วัดสุนทรประดิษฐ์ ซึ่งอยู่ในที่ลุ่มและริมฝั่งแม่น้ำยม ก็ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยดังกล่าวนี้ด้วย น้ำได้ไหลบ่าเข้าไปในโบสถ์ พระพิมพ์ที่ซุกซ่อนอยู่หลังพระประธานจมอยู่ในน้ำเป็นเวลานาน เมื่อน้ำลดจึงมีคราบตะกอนดินติดอยู่ที่ผิวพระ จนบางท่านเข้าใจว่าเป็นพระกรุ หรือบางท่านเข้าใจถูกแล้วแต่ด้วยธรรมชาติขององค์พระเฉกเช่นเดียวกับพระกรุจึงเรียกเช่นนั้นต่อ ๆ กันมา สมัยนั้น ทางวัดมิได้สนใจกับพระพิมพ์ดังกล่าวนี้เลย ใครจะหยิบฉวยไปอย่างไร จำนวนเท่าไหร่ ก็ไม่ว่า โดยเฉพาะเด็กวัดหยิบเอามาเล่นทอยกองกันอย่างสนุกสนาน จนในที่สุดพระก็ไม่มีเหลืออยู่เลย

พระพิมพ์จากวัดบางระกำ หรือวัดสุนทรประดิษฐ์ มีด้วยกัน 2 แบบ คือ พระพิมพ์สิงห์ป้อนเหยื่อ และพิมพ์สมเด็จฝักไม้ดำ – ฝักไม้ขาว

พระพิมพ์สิงห์ป้อนเหยื่อ ขนาดกว้างประมาณ 3 ซ.ม. สูงประมาณ 4.5 ซ.ม. ด้านหน้าเป็นพระปางลีลาหันพระพักตร์ไปทางซ้าย ด้านข้างมีอักขระยันต์นูน ด้านหลังเป็นพระ 3 องค์ ประทับนั่งปางสมาธิ ปางมารวิชัย และพนมมือ ใต้องค์พระและเหนือองค์พระมีอักขระยันต์นูน ด้านล่างสุดมีตัวราชสีห์กับเสือ ส่วน พระพิมพ์สมเด็จฝักไม้ดำ – ฝักไม้ขาว ขนาดกว้างประมาณ 2 ซ.ม. สูงประมาณ 3 ซ.ม. ด้านหน้าเป็นพระปางสมาธิประทับเหนืออาสนะ 3 ชั้น อยู่ภายในซุ้มเส้นลวด ด้านหลังเป็นอักขระยันต์นูน ปัจจุบันหาชมได้ยากยิ่งและมีของเก๊ระบาดแพร่หลาย เนื่องจากสมัยก่อนโด่งดังมาก

ด้านพุทธคุณนั้น เด่นทางมหาอุด และคงกระพันชาตรี เคยมีเรื่องทีเกิดขึ้นและเป็นที่ประจักษ์ต่อชาวบ้าน ชายคนหนึ่งโดนแทงในงานบวชนาคแต่ไม่เข้าเพราะห้อยพระพิมพ์สิงห์ป้อนเหยื่ออยู่ในคอ ลือกันว่าสมัยก่อนบรรดาจอมพลต่างแขวนห้อยคอกันแทบทั้งนั้น รวมทั้งสั่งให้ลูกน้องเสาะหามาใช้เช่นเดียวกับพระร่วงหลังรางปืน และน่าจะด้วยเหตุผลนี้นี่เองจึงทำให้พระพิมพ์กรุบางระกำหลุดรอดเข้าสู่สนามน้อยเต็มทีจนแทบจะกลายเป็นตำนานหนึ่งของพระเครื่องเมืองไทยไปแล้วในขณะนี้

ที่มาภาพและข้อมูล : ตำรานักเล่นพระ (มหาโพธิ์) ฉ.15 1-15 มิ.ย. 40


 
ราคาปัจจุบัน :     2,050 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     50 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    konlenkhong (581)(1)

 

Copyright ©G-PRA.COM
www1