(0)
พระพุทธรูป สมัยอยุธยา เนื้อว่าน บุเงิน พิมพ์มารวิชัย พระนครศรีอยุธยา พร้อมบัตรรับรอง G-Pra







ชื่อพระเครื่องพระพุทธรูป สมัยอยุธยา เนื้อว่าน บุเงิน พิมพ์มารวิชัย พระนครศรีอยุธยา พร้อมบัตรรับรอง G-Pra
รายละเอียดพระพุทธรูป สมัยอยุธยา ภายในเป็นผงผสมว่าน ข้างนอกบุด้วยแผ่นเงิน ( หน้าตัก 1.7 ซม. ) พิมพ์มารวิชัย พระนครศรีอยุธยา พร้อมบัตรรับรอง G-Pra

พระบูชาเนื้อผงว่านบุเงิน สมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในเป็นผงผสมว่านข้างนอกบุด้วยแผ่นเงิน ตามประวัติศาสตร์ที่มีการค้นพบมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาตอนต้นถึงยุคบ้านพูลหลวงและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระบุนั้นในสมัยก่อนช่างจะสร้างขึ้นมาทีละองค์ การสร้างนั้นจะต้องมีแบบจำลองมาจากพระพุทธรูปองค์ใหญ่เช่นจากในพระอุโบสถ์พระพุทธรูปปูนปั้นตามวัดเก่าเจดีย์ โดยช่างจะนิยมทำแบบหุ่นขึ้นมาจากดินและทำพิมพ์ด้วยคลั่งโดยการปั้นและทำรวดลายปฏิมากรรมแบบปูนปั้นจนได้พิมพ์พระที่งดงามตามที่ต้องการ จากนั้นเมื่อแม่พิมพ์แห้งดีช่างได้นำแผ่นเงิน หรือ แผ่นทองคำ มาหุ้มองค์พระแล้วทำการบุโดยการรีดลงบนองค์พระที่ได้ปั้นไว้โดยใช้ความปรานีตและความชำนาญ เนื่องจากจะต้องทำให้พื้นโลหะนั้นเรียบตึง และ ลวดรายขึ้นคมชัดเจนโดยไม่ให้มีการฉีกขาดของโลหะโดยเฉพราะเงินนั้นรีดยากมากไม่เหมือนทอง เพราะทองคำจะมีความเหนียวยืดหยุ่นสูงจึงทำการเข้ารูปได้ดีกว่าเงิน ต้องทำให้เข้าตามซอกตามมุมรวดลายกนกซึ่งยากมาก วันเวลาผ่านมานานจนมาถึงวันนี้400กว่าปี พระที่บุด้วยเงินนั้นส่วนมากจะเกิดการผุกร่อนมากกว่าเนื้อทองคำ เพราะโดนการกัดกร่อนของอ๊อกไซของอากาศตามธรรมชาติ พระบุเนื้อเงินในปัจจุบันจึงหาที่สภาพสมบูรณ์น้อยมาก น้อยกว่าเนื้อทองคำคิดเป็น1ต่อ10 เจอพระบุทองคำสวยๆสิบองค์จะเจอพระบุเงินสวยๆสักองค์ เพราะเนื่องจากรักษายากแตกหักง่าย บัจจุบันที่พบเจอส่วนใหญ่จะโดนลอกเหลือแต่แกน หรือไม่ก็คอหัก บุเงินบุทองช่างสมัยก่อนจะทำทีละองค์เพื่อเป็นเครื่องบรรณาการแด่เจ้านายชั้นสูงเพื่อเป็นพุทธบูชาทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา เนื่องจากเป็นงานศิลป์ชั้นสูงซึ่งไม่ใช่ศิลปะชาวบ้านเพราะการสร้างนั้นยากกว่าการเทหลอมด้วยโลหะ ได้ทีละหลายๆองค์ พระบุจึงนิยมสร้างให้กับเจ้านายชั้นสูงและส่วนใหญ่เชื้อพระวงศ์จะสร้างเป็นเนื้อทองคำและเนื้อเงินลดหลั่นกันลงมาตามชั้นวรรณะตามศักดินาเพราะในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้นปกครองแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ราคาเปิดประมูล500 บาท
ราคาปัจจุบัน1,250 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ50 บาท
วันเปิดประมูล - 18 ธ.ค. 2566 - 00:23:45 น.
วันปิดประมูล - 28 ธ.ค. 2566 - 00:59:16 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลaomm35 (412)


(0)
ข้อมูลเพิ่มเติม 1 - 18 ธ.ค. 2566 - 00:24:14 น.



พระเนื้อว่าน บุเงิน สมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในเป็นผงผสมว่านข้างนอกบุด้วยแผ่นเงิน ตามประวัติศาสตร์ที่มีการค้นพบมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาตอนต้นถึงยุคบ้านพูลหลวงและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระบุนั้นในสมัยก่อนช่างจะสร้างขึ้นมาทีละองค์ การสร้างนั้นจะต้องมีแบบจำลองมาจากพระพุทธรูปองค์ใหญ่เช่นจากในพระอุโบสถ์พระพุทธรูปปูนปั้นตามวัดเก่าเจดีย์ โดยช่างจะนิยมทำแบบหุ่นขึ้นมาจากดินและทำพิมพ์ด้วยคลั่งโดยการปั้นและทำรวดลายปฏิมากรรมแบบปูนปั้นจนได้พิมพ์พระที่งดงามตามที่ต้องการ จากนั้นเมื่อแม่พิมพ์แห้งดีช่างได้นำแผ่นเงิน หรือ แผ่นทองคำ มาหุ้มองค์พระแล้วทำการบุโดยการรีดลงบนองค์พระที่ได้ปั้นไว้โดยใช้ความปรานีตและความชำนาญ เนื่องจากจะต้องทำให้พื้นโลหะนั้นเรียบตึง และ ลวดรายขึ้นคมชัดเจนโดยไม่ให้มีการฉีกขาดของโลหะโดยเฉพราะเงินนั้นรีดยากมากไม่เหมือนทอง เพราะทองคำจะมีความเหนียวยืดหยุ่นสูงจึงทำการเข้ารูปได้ดีกว่าเงิน ต้องทำให้เข้าตามซอกตามมุมรวดลายกนกซึ่งยากมาก วันเวลาผ่านมานานจนมาถึงวันนี้400กว่าปี พระที่บุด้วยเงินนั้นส่วนมากจะเกิดการผุกร่อนมากกว่าเนื้อทองคำ เพราะโดนการกัดกร่อนของอ๊อกไซของอากาศตามธรรมชาติ พระบุเนื้อเงินในปัจจุบันจึงหาที่สภาพสมบูรณ์น้อยมาก น้อยกว่าเนื้อทองคำคิดเป็น1ต่อ10 เจอพระบุทองคำสวยๆสิบองค์จะเจอพระบุเงินสวยๆสักองค์ เพราะเนื่องจากรักษายากแตกหักง่าย บัจจุบันที่พบเจอส่วนใหญ่จะโดนลอกเหลือแต่แกน หรือไม่ก็คอหัก บุเงินบุทองช่างสมัยก่อนจะทำทีละองค์เพื่อเป็นเครื่องบรรณาการแด่เจ้านายชั้นสูงเพื่อเป็นพุทธบูชาทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา เนื่องจากเป็นงานศิลป์ชั้นสูงซึ่งไม่ใช่ศิลปะชาวบ้านเพราะการสร้างนั้นยากกว่าการเทหลอมด้วยโลหะ ได้ทีละหลายๆองค์ พระบุจึงนิยมสร้างให้กับเจ้านายชั้นสูงและส่วนใหญ่เชื้อพระวงศ์จะสร้างเป็นเนื้อทองคำและเนื้อเงินลดหลั่นกันลงมาตามชั้นวรรณะตามศักดินาเพราะในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้นปกครองแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์


 
ราคาปัจจุบัน :     1,250 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     50 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    ส่งภูธร (53)

 

Copyright ©G-PRA.COM