(N)
รายนามพระเถระคณาจารย์ที่นั่งปรกอธิฐานจิต ระหว่างวันที่ ๑๙-๒๐ มกราคม ปี ๒๕๑๕ ( พิธีจักรพรรดิ์มหาพุทธาภิเษก ) ณ วัดสระแก้วปทุมทอง จ.พิษณุโลก
1.หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม ,
2.หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ จ.เพชรบุรี ,
3.หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี ,
4.หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่ จ.ระยอง ,
5.หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม กาญจนบุรี ,
6.หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง สิงห์บุรี ,
7.หลวงพ่อเกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ ลำปาง ,
8.หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค นครสวรรค์ ,
9.หลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม ชัยนาท,
10.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ธนบุรี ,
11.หลวงพ่อผาง วัดอุดมคงคาคีรีเขตต์ ขอนแก่น
12.หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง จังหวัดเชียงใหม่
13.หลวงพ่อทบ (พระครูวิชิตพัชราจารย์) วัดพระพุทธบาทชนแดน จ.เพชรบูรณ์
14.หลวงพ่อพันธ์ (พระครูประพันธ์ศีลคุณ) วัดบางสะพาน จ.พิษณุโลก ฯลฯ
มวลสารประกอบด้วย
* เกสรดอกไม้ และผงธูป
o วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว กรุงเทพมหานคร
o วัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่
o วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร จังหวัดลำพูน
o วัดพระธาตุลำปางหลวง จังหวัดลำปาง
o วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม
o วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
o วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก
o วัดโสธรวราราม วรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเฉา
o วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร จังหวัดนครพนม
o วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร จังหวัดสระบุรี
* ทองคำเปลวและรัก
o พระพุทธชินราชจำลองหน้าพระวิหาร วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก
o พระพุทธโสธร วัดโสธรวราราม วรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเฉา
o เจดีย์ดอยสุเทพ วัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่
o เจดีย์หริภุญชัย วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร จังหวัดลำพูน
o วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร จังหวัดสระบุรี
* ผงมวลสารส่วนพระองค์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)
* ผงมวลสาร วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร
* ผงมวลสาร พระหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จังหวัดสิงห์บุรี
* ผงมวลสาร วัดเทพากร กรุงเทพมหานคร
* ผงมวลสาร พ.ศ. 2506 วัดประสาทบุญญาวาส กรุงเทพมหานคร
* ผงมวลสาร 25 พุทธศตวรรษ
* พระนางพญากรุ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก แตกหัก
* พระนางพญากรุ วัดนางพญา พิษณุโลก แตกหัก
* ผงมวลสารหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพมหานคร
* แร่แก้วผลึก หินแก้วผลึกใส จากเหมืองแร่ลำปาง
* งาช้าง และเขี้ยวเสือไฟ
* ผงอิทธิเจ ผงตรีนิสิงเห ผงปถมัง
* ว่าน 108 ชนิด
* ผงใบลานและสมุดข่อยโบราณ
* อิฐ
o พระอุโบสถเก่า วัดสระแก้วปทุมทอง จังหวัดพิษณุโลก
o กำแพงเมืองพิษณุโลก
o พระราชวังจันทร์ พิษณุโลก
o พระวิหารพระอัฏฐารส วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก
* พระกรุแตกหักวัดสระแก้วปทุมทอง พิษณุโลก
* ผงตะไบพระกริ่งและผงพระสมเด็จ วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร
* ผงพระสมเด็จแตกหัก วัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร
* ผงพระสมเด็จแตกหัก วัดใหม่อมตรส (วัดบางขุนพรหม) กรุงเทพมหานคร
* พระพุทธรูป แตกหักจากทะเลแก้ว จังหวัดพิษณุโลก
* จาน ชาม เครื่องสังคโลก จากกรุเมืองเก่าสุโขทัย
* แผ่นนพเก้า (โมเสก) ติดพระปรางค์ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก
* ดินสังเวชนียสถาน 4 ตำบล ประเทศอินเดีย
* ใบต้นศรีมหาโพธิ์พุทธคยา อำเภอคยา รัฐพิหารประเทศอินเดีย
* น้ำสรงพระแก้วมรกต วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแก้ว กรุงเทพมหานคร
* น้ำสรงพระแสงดาบวัดตูม จังหวัดพิษณุโลก
* น้ำอภิเษกประจำจังหวัดพิษณุโลก จากสระแก้ว ทะเลแก้ว และสระสองห้อง
* ดินปากแม่น้ำ
o แม่น้ำเจ้าพระยา
o แม่น้ำบางประกง
o แม่น้ำปัตตานี
o แม่น้ำตาปี
o แม่น้ำมูล
* ดินพระนคร 5 พระนคร หรือ เบญจนครา
o พระนครศรีอยุธยา
o เมืองพระพิษณุโลก
o เมืองสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร
o เมืองนครศรีธรรมราช
o กรุงเทพมหานคร หรือ กรุงรัตนโกสินทร์
รวมทั้งหมด 108 ชนิด มวลสาร จึงได้ชื่อว่า มหาจักรพรรดิ์ เพราะเต็มไปด้วยมวลสารสำคัญทั่วทั้งประเทศมารวมไว้ที่พระเครื่องพิธีจักรพร รดิ์มหาพุทธาภิเษก ปี 2515 ทั้งสิ้นและสูตรในการผสมยังเป็นความลับ ทั้งไม่มีพิธีใดๆจะลอกเลียนแบบได้เหมือนสูตรมหาจักรพรรดินี้ได้เลย โดยมวลสารและผงทั้งหมดนี้ ท่านพระครูศีลสารสัมบัน ได้ธุดงค์ จาริกแสวงบุญ รวบรวมมาเรื่อยตั้งแต่ยังไม่ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดสระแก้วปทุมทอง บางครั้งก็มีพระผู้ใหญ่หรือฆราวาสที่ท่านพระครูศีลสารสัมบัน รู้จักมักคุ้นก็จะนำมาฝากหรือถวายจนมีมากมายหลากหลายชนิดมวลสารสาธยายทั้ง สิ้นก็ไม่อาจจะกล่าวได้หมด ดั่งคำกล่าวที่ว่า &#8220สาธยาย 3 วันก็ไม่จบ มันเยอะจริงๆ&#8221
*****การสร้างพระพิมพ์ทั้งสิ้นทั้งปวงนี้ ไม่มีคฤหัสถ์หรือฆราวาสคนใดได้จับหรือแตะต้อง มีเพียงพระภิกษุและสามเณรที่ปลงอาบัติและต่อศีลจนบริสุทธิ์ครบถ้วนแล้วเท่า นั้นที่ช่วยกันบดผงด้วยครกเหล็กและกดพิมพ์พระจนเสร็จสิ้นบริบูรณ์ จำนวนสร้างทั้งสิ้น 4,950 องค์ |
|